Google Lens เพื่อการพัฒนาเนื้อหาดิจิทัล
Google Lens จะเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตประจำวันของเรา เพราะการนำเอาดิจิทัลคอนเทนต์มาอยู่รวมในโลกจริง เราจะเรียกเทคโนโลยีนี้ว่า เทคโนโลยีความจริงเสริม หรือ AR
New Normal กับการศึกษา
การศึกษาทุกยุคทุกสมัยเป็นเรื่องที่สำคัญต่อมนุษย์มาโดยตลอด เพราะทำให้ผู้ที่ไม่รู้ ได้เรียนรู้ ในสมัยก่อนอาจจะเป็นครู เป็นพระ พ่อแม่ หรืออื่น ๆ อีกมากมาย ในปี 2020 เกิดปัญหาโควิด-19 ขึ้นมา ทำให้เกิดการปรับตัว คนเกิดการเว้นระยะห่างจากกัน เทคโนโลยีความจริงเสริม (AR : Augmented Reality)
เปรียบเทียบโมเดล Google Lens
อันนี้เป็นการจำลองความละเอียดของ Texture เพื่อใช้อธิบายประกอบการตัดสินใจในการใช้งานโมเดลสำหรับ Google Lens
Recall กับพิพิธภัณฑ์สุนทรภู่
สุนทรภู่กลับมามีชีวิตอีกครั้งที่พิพิธภัณฑ์สุนทรภู่วัดเทพธิดาราม นับเป็นเรื่องมหัศจรรย์ ที่บุคคลสำคัญในอดีตของประเทศไทย กลับมามีชีวิตอีกครั้ง ผ่านแอปพลิเคชัน Recall ด้วยเทคโนโลยีความจริงเสริม (AR) ที่สามารถเนรมิต พระสุนทรภู่ให้กลับมา พร้อมให้นักท่องเที่ยวได้ถ่ายรูปและวีดีโอร่วมเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์อีกครั้ง
AR กับ สสวท.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) โดยวิชาเคมี ชีววิทยา โลกดาราศาสตร์และอวกาศ และการออกแบบและเทคโนโลยี ได้พัฒนาสื่อวิทยาศาสตร์ด้วยเทคโนโลยีความจริงเสริม หรือ AR(Augmented Reality) สำหรับเป็นสื่อประกอบหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานและรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
ทำไมต้องใช้ AR กับการศึกษา
หน้ากระดาษอาจจะไม่พอสำหรับจินตนาการ ใช้ AR เพื่อแต่งเติมความจริง ให้มากกว่าจินตนาการ ให้การศึกษากลับมาน่าสนใจอีกครั้ง และมากกว่าทุกครั้ง
Recall – 70 Unicef
คนช่างฝันไม่ได้มีเพียงแค่ฉัน You may say I’m a dreamer, but I’m not the only one. โดย พิชฐญาณ์ โอสถเจริญผล